ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย)
บทคัดย่อ
บทคัดย่อมีความยาวระหว่าง 150 ถึง 300 คำ โดยสรุปประเด็นที่สำคัญของบทความ
ไว้อย่างกระชับ ครอบคลุมหัวข้อต่าง ๆ อย่างครบถ้วน บทคัดย่อให้พิมพ์ด้วยตัวปกติ โดยใช้
รูปแบบอักษร TH SarabunPSK ขนาด 13 จุด บทความภาษาไทย ต้องมีบทคัดย่อทั้งภาษาไทย
และภาษาอังกฤษ ดังแสดงในตัวอย่างบทความ ซึ่งสามารถดาวน์โหลดได้ที่ http://shorturl.asia/rFJIj/
คำสำคัญ: คำสำคัญที่ 1, คำสำคัญที่ 2, … (ไม่เกิน 5 คำสำคัญ)
Title (in English)
Abstract
The abstract should be between 150 and 300 words, providing a concise
summary of the key points of your paper. The abstract must be typed with the normal style using TH SarabunPSK size 13 point. Papers written in Thai must have an abstract in both Thai and English languages, as shown in the example paper, aviable for downloaded at http://shorturl.asia/rFJIj/
Keyword: English keyword 1, English keyword 2, ... (max. five keywords)
หัวข้อหลัก
บทความมีความยาวไม่เกิน 15 หน้า รูปแบบตัวอักษรที่ใช้คือ TH SarabunPSK ขนาด 14 จุด โดยจัดบรรทัดแบบชิดขอบ (Justify หรือ Thai Distributed) ให้ใช้ระยะบรรทัด 1 บรรทัด (Single line spacing) หนึ่งสดมภ์ (Single column) ตลอดบทความ การจัดขอบกระดาษให้เว้นระยะบน 2 ซ.ม. ล่าง 3 ซ.ม. ซ้าย
3 ซ.ม. และขวา 2.7 ซ.ม. ซึ่งข้อความ ตารางและรูปต่าง ๆ ต้องอยู่ภายในกรอบดังกล่าวเท่านั้น ผู้เขียนควรเขียนบทความนี้ให้มีความสมบูรณ์ในตัวเอง โดยมีองค์ประกอบสำคัญ ได้แก่ ที่มาและความสำคัญของปัญหา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พร้อมกับเปรียบเทียบอย่างชัดเจนว่างานของท่านแตกต่างกับงานของบุคคลอื่นอย่างไร วิธีการศึกษาวิเคราะห์และวิจัยโดยบรรยายวิธีการเป็นขั้นเป็นตอนอย่างชัดเจนพอให้ผู้อื่นสามารถทำซ้ำได้ รายงานผลการทดลองพร้อมการวิเคราะห์และอภิปรายผล บทสรุปและงานวิจัยในอนาคต กิตติกรรมประกาศ (ถ้ามี) และองค์ประกอบสุดท้ายคือเอกสารอ้างอิง
รูปแบบตัวอักษร ตาราง ภาพประกอบ เชิงอรรถและการอ้างอิง
บทความจะต้องเริ่มต้นด้วยชื่อบทความภาษาไทย โดยให้ใช้ตัวอักษร TH SarabunPSK ตัวหนาขนาด 16 จุด เว้นก่อนและหลังวรรค 6 จุด ชื่อผู้แต่งให้ใช้ตัวอักษร TH SarabunPSK ขนาด 14 จุด
เว้นก่อนและหลังวรรค 6 จุด ที่อยู่ของผู้เขียน ให้ใช้ตัวอักษร TH SarabunPSK ตัวเอนขนาด 13 จุด
อีเมลให้ใช้ตัวอักษร TH SarabunPSK ขนาด 13 จุด บทคัดย่อให้พิมพ์ด้วยตัวปกติ โดยใช้รูปแบบอักษร
TH SarabunPSK ขนาด 13 จุด บทความภาษาไทย ต้องมีบทคัดย่อทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
คำสำคัญให้พิมพ์คำว่า Keywords และใส่คำสำคัญไม่เกิน 5 คำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พิมพ์ตัวปกติด้วยรูปแบบตัวอักษร TH SarabunPSK ขนาด 13 จุด หัวข้อต่าง ๆ ให้ใช้รูปแบบตัวอักษร
TH SarabunPSK ขนาด 14 จุด สำหรับรูปแบบตัวอักษรอื่น ๆ ให้ใช้รูปแบบตัวอักษร TH SarabunPSK ขนาด 14 โดยจัดบรรทัดแบบชิดขอบ (Justify หรือ Thai Distrbuted)
ตาราง 1 ขนาดและลักษณะของตัวอักษร
ส่วนประกอบ
|
ขนาดตัวอักษร
|
ลักษณะตัวอักษร
|
ชื่อบทความ
ชื่อผู้เขียน
สังกัดผู้เขียน
Email
บทคัดย่อ
คำสำคัญ
หัวข้อ
เนื้อหา
|
16
14
13
13
13
13
14
14
|
TH SarabunPSK ตัวหนา
TH SarabunPSK ตัวปกติ
TH SarabunPSK ตัวเอน
TH SarabunPSK ตัวปกติ
TH SarabunPSK ตัวปกติ
TH SarabunPSK ตัวปกติ
TH SarabunPSK ตัวหนา
TH SarabunPSK ตัวปกติ
|
หมายเหตุ ส่วนประกอบภาษาไทยและภาษาอังกฤษใช้ขนาดและลักษณะตัวอักษรเหมือนกัน
ภาพประกอบ 1 ตัวอย่างภาพประกอบที่มองหัดเจนเมื่อบทความถูกพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ขาว-ดำ
กรณีเชิงอรรถให้ใส่ตัวเลขในวงเล็บ (เปิดและปิด) และทำเป็นตัวยก (Superscript) หลังคำหรือประโยคที่ต้องการเพิ่มความขยาย และให้ใส่ลำดับของเลขนั้น ๆ พร้อมความที่ต้องการขยายไว้หัวข้อสุดท้ายต่อจากเนื้อหาก่อนการอ้างอิง เช่น ตัวอย่างการใส่เชิงอรรถ
คำหรือประโยคในเนื้อหาที่ต้องการใส่เชิงอรรถ (1)
เชิงอรรถ
(1) ขยายความตามลำดับที่ได้กำหนดไว้ในเนื้อหา
เอกสารอ้างอิง (ใช้ระบบ APA: American Psychological Association) แยกตามเอกสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาอื่น ๆ
การอ้างอิงในการเขียนบทความเพื่อขอตีพิมพ์นั้น ในที่นี้กำหนดรูปแบบการเขียนการอ้างอิงแบบ APA (American Psychological Association) ซึ่งสามารถทำความเข้าใจตัวอย่างการอ้างอิงในรูปแบบ
ดังกล่าวผ่าน http://www.apastyle.org/
ตัวอย่างการอ้างอิงเอกสาร
หนังสือทั่วไป
ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ (พิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป). สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์.
บทความในหนังสือ
ชื่อผู้เขียนบทความ. (ปีพิมพ์). ชื่อบทความ. ใน ชื่อผู้แต่ง (บรรณาธิการ), ชื่อหนังสือ (ครั้งที่พิมพ์),
(เลขหน้าที่ปรากฏบทความจากหน้าใดถึงหน้าใด). สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์
วารสาร
ชื่อผู้เขียนบทความ. (ปีพิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีที่ (ฉบับที่), เลขหน้าที่ปรากฎ.
นิตยสาร
ชื่อผู้เขียนบทความ. (ปี,เดือนที่พิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อนิตยสาร, ปีที่ (ฉบับที่), เลขหน้าที่ปรากฏ.
หนังสือพิมพ์
ชื่อผู้เขียนบทความ. (ปี,เดือนที่พิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อหนังสือพิมพ์, ปีที่ (ฉบับที่), เลขหน้าที่ปรากฏ.
วิทยานิพนธ์
ชื่อผู้เขียนวิทยานิพนธ์. (ปีพิมพ์). ชื่อวิทยานิพนธ์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตหรือวิทยานิพนธ์
ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, ชื่อมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา).
สื่อโสตทัศน์และสื่ออื่น ๆ
ชื่อผู้จัดทำ (หน้าที่). (ปีที่ผลิต). ชื่อเรื่อง. [ลักษณะของสื่อ]. สถานที่ผลิต: หน่วยงานที่ เผยแพร่.
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารที่เผยแพร่ทั้งฉบับพิมพ์และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
ชื่อผู้เขียนบทความ. (ปีพิมพ์). ชื่อบทความ [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์]. ชื่อวารสาร, ปีที่ (ฉบับที่),
เลขหน้าที่ปรากฎ. (ใช้คำว่า [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์] สำหรับเอกสารภาษาไทย และคำว่า
[Electronic version] สำหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ)
บทความในวารสารอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งไม่มีการจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม
ชื่อผู้แต่ง. (ปีพิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีที่ (ฉบับที่), เลขหน้า-เลขหน้า. Doi: xxx
บทความที่สืบค้นได้จากวารสารอิเล็กทรอนิกส์
ชื่อผู้แต่ง. (ปีพิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีที่ (ฉบับที่), เลขหน้า-เลขหน้า. URL ของวารสาร
สารสนเทศประเภท Press Release รายงานประจำปี ไฟล์ประเภท PowerPoint, Blog post, Online Video, Audio Podcast, facebook post, Twitterr post เป็นต้น
ชื่อผู้เขียน (ปี,เดือน วันที่). ชื่อเนื้อหา. [รูปแบบสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์]. Retrieved from URL
หรือเว็บไซต์ของข้อมูล
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่เผยแพร่สารนิเทศบนอินเทอร์เน็ต). ชื่อเรื่อง/ชื่อบทความ. http://www …………
รายงานการประชุมหรือสัมมนาทางวิชาการ
ชื่อผู้แต่ง. ปีที่พิมพ์. ชื่อเรื่อง. ชื่อเอกสารรวมเรื่องรายงานการประชุม, วัน เดือน ปี สถานที่จัด. เมืองที่พิมพ์:
สำนักพิมพ์.
coupons for prescription medications
drug coupons drug coupon
cialis coupons printable
site discount coupon for cialis
cialis savings and coupons
read drug discount coupons
free cialis coupon 2016
site coupon for free cialis
acetazolamide pka
mipnet.dk acetazolamide pka
partial birth abortion
gitara.by does abortion hurt
can you drink alcohol while taking low dose naltrexone
site vivitrol half life
where to buy naltrexone
naltrxone naltrexone alcohol abuse
what does vivitrol do
site naltrexone experiences